งานชิ้นที่ 5



รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนางสาวกาญจนทิพย์    หนูภัยยันต์
เนื่องจากขาดความมีน้ำใจในการเรียน  โดยวิธีการจับคู่กันเรียน








นางสาวสุนันทา  ศรีทอง









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12

ชื่อเรื่อง  การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนางสาวกาญจนทิพย์    หนูภัยยันต์  เนื่องจากขาดความมีน้ำใจใน
                        การเรียน  โดยวิธีการจับคู่กันเรียน
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวสุนันทา  ศรีทอง
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้สอนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน  (ค31101)  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  จำนวนนักเรียน  32  คน  จากการที่สังเกตการณ์ทำงานของนักเรียนพบว่านางสาวกาญจนทิพย์ 
หนูภัยยันต์  มีพฤติกรรมขาดความมีน้ำใจในการทำงาน  จึงมอบหมายให้นางสาวกาญจนทิพย์  หนูภัยยันต์  เป็นพี่เลี้ยงของสมาชิกในชั้นเรียน  คน  คือ  นายเกียรติศักดิ์  ศรีระษา  ซึ่งเป็นนักเรียนที่เรียนอ่อน  ขาดความรับผิดชอบ  ความกระตือรือร้นในการเรียน  โดยให้นางสาวกาญจนทิพย์  หนูภัยยันต์  เป็นพี่เลี้ยง  คอยให้คำแนะนำในการเรียนคอยช่วยเหลือ  ซึ่งจะเป็นการช่วยให้นางสาวกาญจนทิพย์  เป็นคนมีน้ำใจมากยิ่งขึ้น  มีความรับผิดชอบต่อสมาชิกร่วมห้องเรียน

วัตถุประสงค์
        การพัฒนาส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเป็นผู้มีน้ำใจของนางสาวกาญจนาทิพย์  หนูภัยยันต์

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นางสาวกาญจนทิพย์  หนูภัยยันต์  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา  ปีที่  3/2   ภาคเรียนที่  ปีการศึกษา  2555  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  อำเภอทุ่งสง  จังหวัดนครศรีธรรมราช 
                เครื่องมือในการวิจัย
1.              รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลาย
2.              แบบบันทึกคะแนน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ยกย่อง ชมเชย เมื่อแสดงพฤติกรรมดี ทั้งต่อหน้า ลับหลัง ส่วนรวม เช่น หน้าเสาธง  ที่ประชุมครู ที่ประชุมนักเรียน และผู้ปกครอง
2.  สังเกตพฤติกรรม สัมภาษณ์ สอบถาม เพื่อน ผู้ปกครอง ชุมชน ครูในโรงเรียน หากแสดงพฤติกรรมนอกสิ่งที่จะพัฒนาเสนอแนะเป็นการส่วนตัว
3.  พัฒนาคุณธรรมด้านอื่นหลายๆ ด้าน เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ ความขยัน ความกตัญญู และคุณธรรมอื่นๆ
4.  มอบหมายให้เป็นต้นแบบขยายผล ร่วมสอดส่องปลุกจิตสำนึกสู่เพื่อนอื่น
5.  ให้ความหวัง ความรัก ความมั่นใจ ผลสำเร็จในอนาคตของการทำความดี

ผลการวิจัย
1.              นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่ดีอย่างต่อเนื่องทั้งอยู่ที่โรงเรียน บ้าน และสถานที่ทั่วไป
2.              นักเรียนอื่นได้รูปแบบ ผลของการมีน้ำใจ เป็นผลให้นักเรียนอื่นนำไปปฏิบัติ
3.              สร้างความมั่นใจต่อผู้ปกครอง  นักเรียนอื่นต่อผลการทำความดี

ข้อเสนอแนะ
1. ควรส่งเสริมการแสดงออกผู้มีพฤติกรรมดีด้วยวิธีการต่างๆ ทุกๆ คนอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง
                2.  การจัดการเรียนการสอนควรแก้ปัญหา  พัฒนาทุกเรื่อง จึงจะได้ชื่อว่า เป็นครูนักวิจัย






                                                                             รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การปรับพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/4 
 ที่ชอบเล่นมากกว่าเรียนโดยวิธีการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม








นางสาวสุนันทา  ศรีทอง









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12


ชื่อเรื่อง  การปรับพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/4   ที่ชอบเล่นมากกว่าเรียนโดยวิธีการศึกษา
            ค้นคว้าเพิ่มเติม
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวสุนันทา  ศรีทอง
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้สอนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน  (ค31101)  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ซึ่งต้องเป็นวิชาที่ต้องคำนวณ  นักเรียนจะรู้สึกเบื่อหน่ายได้ง่าย  ข้าพเจ้าได้สังเกตการณ์เรียนการสอน  พบว่า  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/4  ชอบเล่นมากกว่าเรียนการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อส่งเสริมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองเนื่องจากนักเรียนไม่สนใจความรู้ในเชิงวิชาการชอบเล่นมากกว่าการเขียน  จึงได้ให้นักเรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์และเป็นเรื่องที่ตนเองสนใจ  จากสถานที่ที่นักเรียนสนใจ  และนำเสนอให้เพื่อนๆฟัง 

วัตถุประสงค์
        เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนของนักเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/4  โรงเรียนท่งสงวิทยา  โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/4   ภาคเรียนที่  ปีการศึกษา  2555  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  อำเภอทุ่งสง  จังหวัดนครศรีธรรมราช  จำนวน  30  คน
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลาย
2.             แบบบันทึกคะแนน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             ครูออกแบบวิธีการค้นคว้า โดยให้ค้นคว้าเรื่องหรือสิ่งที่ตนเองสนใจ อยากรู้ อยากเห็นจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งที่เป็นเรื่องที่นักเรียนสนใจและเรื่องที่เป็นสาระในบทเรียน
2.             นำสิ่งที่ตนเองค้นคว้าได้มารายงาน ให้ครู เพื่อนนักเรียนทราบ
3.             ครูกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน เช่น ค้นได้ 1 เรื่อง นำมาเสนอผ่านจะได้ 5 คะแนน แต่ในหนึ่งภาคเรียนต้องทำส่งไม่เกิน 20 เรื่อง นำคะแนนที่ได้ไปประเมินตามสภาพจริงร่วมกับวิธีอื่น
4.             ครูสังเกตการณ์ทำกิจกรรม การแก้ปัญหา  ความสนใจ  ความตั้งใจในชิ้นงาน
5.             สังเกตการหางานว่าดีขึ้นหรือไม่
6.             สังเกตการประเมินตามสภาพจริง
7.             วัดผลการเรียนเมื้อสิ้นภาคเรียน

ผลการวิจัย
ผลจากการเรียนการสอนโดยการให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม  จะพบว่า
1.       นักเรียนรู้จักการใช้ห้องสมุด ใช้เวลาว่างไปค้นคว้าหาข้อมูลที่เกิดจากความสนใจ สงสัยของนักเรียนเอง
2.       ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ครูและผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
3.       สนองต่อการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปสู่ พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
4. นักเรียนรู้จักการเรียนปนเล่น  ทำให้นักเรียนชอบความรู้ในเชิงวิชาการมากกว่าการเล่นเพียงอย่างเดียว

ข้อเสนอแนะ
1.       การศึกษาวิธีนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการวิจัยให้กับผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนรักการค้นคว้าเห็นคุณค่า
2. ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองด้วยวิธีการต่างๆ แทนที่จะรับจากครูฝ่ายเดียว
3.       ไม่มีวิธีการค้นคว้าหาความรู้วิธีใดดีที่สุด ครู ผู้ปกครอง ผู้เกี่ยวข้องควรส่งเสริมหลายๆ วิธี


รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/4
1
11045
นายกิตติศักดิ์              หมวดเมือง
2
11046
นายจตุภัทร                 บัวบาน
3
11047
นายจารุกิตติ์                จริตงาม
4
11048
นายชยานนท์               ศิริศิลป์
5
11049
นายณัฐธวัช                 พงษ์จีน
6
11050
นายณัฐพงศ์                แก้วสนั่น
7
11051
นายตะวัน                  สบายดี
8
11052
นายธนากร                ศรีสุขใส
9
11054
นายวีระยุทธ              วุฒิวงศ์
10
11055
นายปุณยวีร์               ต๋าแสง
11
11056
นายพงศ์ศักดิ์             เกิดเกลี้ยง
12
11057
นายพชร                   อันจิตรแจ่ม
13
11058
นายภูวนนท์              แก้วสุข
14
11059
นายรัชชานนท์          ทรงแก้ว
15
11061
นายวัชระ                  มะลิแก้ว
16
11062
นายวีรพงศ์               สุขเกษม
17
11063
นายอลงกต               ช่วยเกิด
18
11064
นางสาวกัลยารัตน์    รินรส
19
11065
นางสาวกิ่งดาว         ทองรัตน์ทอง
20
11066
นางสาวเกศินี          หอมละเอียด
21
11067
นางสาวทัศนีย์         งามสันเทียะ
22
11068
นางสาวธัญญลักษณ์  ช่องลมกรด
23
11069
นางสาวนุสรา          อำลอย
24
11070
นางสาวปราลี          คงไสย
25
11071
นางสาวผ่องศรี       ผ่องฉาย
26
11072
นางสาวพัชรีพร      บุญเชิด
27
11074
นางสาวศิริลักษณ์   มัคสิงห์
28
11076
นางสาวอภิญญา     รัตนมณี
29
11077
นางสาวอุบลรัตน์   ภักดี
30
10943
นายปรมัช       เงินทอง
31
11435
นายธนวัฒน์       ไชยศร
32
11436
นายทราวุธ      แก้ววิชิต
33
11441
นายรณธชัย       ศรีปาน









รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้วิธีสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  , 3/4  , 3/7








นางสาวสุนันทา  ศรีทอง









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12


ชื่อเรื่อง  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้วิธีสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน  ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา      
                ปีที่  3/2  , 3/4  , 3/7
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวสุนันทา  ศรีทอง
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้สอนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน  (ค23101)  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ซึ่งต้องเป็นวิชาที่ต้องคำนวณ  นักเรียนจะรู้สึกเบื่อหน่ายได้ง่าย  ข้าพเจ้าได้สังเกตการณ์เรียนการสอน  พบว่า  จากการที่ครูผู้สอนได้ถ่ายทอดความรู้ให้กับความรู้ในชั้นเรียน  หลังจากการสอนครูได้ประเมินผล  โดยการมอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด  ใบกิจกรรม  และแบบทดสอบ  พบว่านักเรียนบางคนไม่สามารถทำแบบฝึกหัด  ทำใบกิจกรรม  และแบบทดสอบ  และทำข้อสอบผ่านเกณฑ์ได้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด  ซึ่งปัญหาดังกล่าวนั้น  เกิดจากนักเรียนบางคนเรียนรู้ได้ช้า  และมีความสามารถในการเรียนรู้ไม่เท่ากัน  ข้าพเจ้าจึงได้หาวิธีการที่จะจูงใจให้นักเรียนมีความสนใจ  และกระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นมากขึ้น  กิจกรรมการเรียนการสอนแบเพื่อช่วยเพื่อนนั้น  เป็นวิธีการที่ช่วยสนับสนุนวิธีการดังกล่าวได้ทางหนึ่ง  โดยให้เพื่อนได้มีบทบาทสำคัญในการเรียน  เพื่อนและกลุ่มมีอิทธิพลในการสร้างความสนใจ  จูงใจและการยอมรับของเพื่อนด้วยกัน  ซึ่งการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน  การเรียนร่วมกัน  มีประโยชน์ดังนี้
1.             นักเรียนได้รับประโยชน์จากเพื่อนและมีโอกาสได้รับประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหลายวิธี
2.             นักเรียนที่เรียนเก่งมีโอกาสขยายความรู้ให้เพื่อนได้ฟังได้  และช่วยเหลือเพื่อนที่เรียนอ่อนได้
3.             ทำให้นักเรียนรู้จักทำงานร่วมกับผู้อื่น  ปรับตัวเข้ากับสังคมและรู้สึกชอบโรงเรียนมากยิ่งขึ้น
4.             นักเรียนเข้าใจวัฒนธรรมของผู้อื่นมากยิ่งขึ้น  มีความสัมพันธ์กันเป็นอันดี  แม้จะมีพื้นฐานที่แตกต่างกัน  ได้ช่วยกันแก้ปัญหาซึ่งสิ่งเหล่านี้ช่วยพัฒนาทักษะทางชีวิตที่สำคัญ
5.             ทำให้บรรยากาศในการเรียนมีความสนุกสนานน่าเรียน
6.             ทำให้นักเรียนกล้าพูดกล้าซักถาม  และกล้าแสดงความคิดเห็นต่อหน้าเพื่อนในชั้น
7.             ช่วยครูในการสอนและควบคุมชั้นเรียน
การจัดการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน  จะใช้วิธีการเฟ้นหาเพื่อนที่เก่งช่วยเพื่อนที่เรียนอ่อนทำให้ผลการเรียนดีขึ้น  โดยกำหนดให้เพื่อนที่เรียนเก่ง  คอยช่วยเหลือ  แนะนำ  อธิบายหัวข้อต่างๆที่เพื่อนยังไม่เข้าใจ  คอยติดตามช่วยเหลือในเรื่องนั้นๆ จนเข้าใจ  ความสนิทสนมและใกล้ชิดทำให้ผู้มีปัญหามีความรู้สึกเกิดการยอมรับ  อยากพัฒนาตนเอง  จนส่งผลให้เกิดการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดียิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์
        เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนของนักเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  , 3/4  , 3/7 โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  , 3/4  , 3/7 ภาคเรียนที่    ปีการศึกษา  2555  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  อำเภอทุ่งสง  จังหวัดนครศรีธรรมราช  จำนวน  100  คน
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             รูปแบบการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน
2.             แบบันทึกคะแนน
3.             สมุดแบบฝึกหัดและใบกิจกรรมของนักเรียน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             แบ่งนักเรียนเป็นคู่  โดยให้นักเรียนที่เรียนเก่ง  และมีความรับผิดชอบเป็นพี่เลี้ยง
2.             ครูผู้สอนชี้แจงการเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน  โดยหลังจากครูสอนแต่ละครั้งก็จะมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด  โดยนั่งเรียนนั่งทำแบบฝึกหัดช่วยกันคิด  หากข้อใดที่ลูกน้องไม่เข้าใจ  จะให้พี่เลี้ยงช่วยอธิบายจนเพื่อนเข้าใจ
3.             ครูสังเกตการณ์ทำกิจกรรมคู่  การช่วยกันแก้ปัญหา  ความสนใจ  ความตั้งใจของสมาชิกแต่ละคู่
4.             สังเกตการทำแบบฝึกหักว่าดีขึ้นหรือไม่
5.             สังเกตการประเมินตามสภาพจริง
6.             วัดผลการเรียนเมื้อสิ้นภาคเรียน
ผลการวิจัย
ผลจากการเรียนการสอนแบเพื่อนช่วยเพื่อนมาใช้ในการเยนการสอนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
(ค23101)  ปรากฏว่า  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ที่กำหนดทุกคน  และกิจกรรมกลุ่มทำให้บรรยากาศที่ดี  ช่วยให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นสนใจ  ตั้งใจ  และมีความรับผิดชอบมากขึ้น  อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา  ช่วยสร้างความสามัคคี  รู้จักแก้ปัญหาร่วมกัน
ข้อเสนอแนะ
1.             ครูผู้สอนต้องคอยติดตามดูแล  การปฏิบัติกลุ่มอย่างต่อเนื่อง
2.             ควรเฟ้นหาพี่เลี้ยงที่มีความสามารถและเก่งจริงๆ
3.             ครูผู้สอนต้องคอยให้แรงเสริมแก่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง
4.             ครูผู้สอนควรแจ้งผลการประเมินทุกครั้งเพื่อกลุ่มจะได้ปรับปรุงและพัฒนาตนเองในจุดที่ยังด้อยอยู่
รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2
1
10871
นายกิตติศักดิ์       ไทยยัง
2
10872
นายเกียรติศักดิ์     ศรีระษา
3
10873
นายฉัตรชัย          แก้วลำหัด
4
10874
นายชินวิทย์         จันทร์ชุม
5
10875
นายธีระยุทธ        ช่วยเกิด
6
10876
นายภูริณัฐ           ปานทอง
7
10877
นายวัชรินทร์       สิทธิศักดิ์
8
10879
นายวุฒิชัย             ดวงแก้ว
9
10880
นายเอกภาพ         เผ่นภูเขียว
10
10881
นายเอกรัตน์        วิชัยดิษฐ์
11
10882
นางสาวกนกวรรณ     เกลี้ยงมณี
12
10883
นางสาวกัญญาณัฐ       หนูในนา
13
10884
นางสาวกาญจนทิพย์    หนูภัยยันต์
14
10885
นางสาวกิตติภาภรณ์    หนูภัยยันต์
15
10886
นางสาวจุฬารัตน์         จงรักษ์
16
10887
นางสาวชไมพร          ดำนุ่น
17
10888
นางสาวชลพินท์         นงนวล
18
10889
นางสาวชุติเนตร        แก้วรัตน์
19
10890
นางสาวณัฐวดี           พรหมสุทธิ์
20
10891
นางสาวดารารัตน์      ยกชม
21
10892
นางสาวนวรัตน์         วงศ์สุวรรณ
22
10893
นางสาวนันทิการ       ก๋าวิเต
23
10894
นางสาวพรทิพย์         ยืนยัน
24
10895
นางสาวพัชราพร        สุขอนันต์
25
10896
นางสาวรุ่งอรุณ          หอมหวน
26
10897
นางสาววนิดา             คำสงค์ 
27
10898
นางสาวศศิธร            สุริยันต์
28
10899
นางสาวสุณิสา           ชูกรณ์
29
10900
นางสาวสุดารัตน์        ธงทอง
30
10901
นางสาวสุนทรี           รัตนคช
31
10902
นางสาวสุวรรณี         สุขอนันต์
32
10903
นางสาวอรอุมา          ณ สุวรรณ
33
10904
นางสาวอัญญาวรรธน์   จันทน์เทศ
34
10905
นางสาวอุษณีย์           ซุ่นแซ่ล้อ


รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/4
1
10942
นายกิตติวัฒน์       รักช้าง
2
10944
นายณัฐพงศ์         ร่มเย็น
3
10945
นายทวีศักดิ์         ชุมเหียน
4
10946
นายธีรวัฒน์         สุวรรณพันธ์
5
10948
นายปิยะวุฒิ         เจริญวงศ์
6
10949
นายพชรพงษ์       ทองสีนุช
7
10950
นายพิชญุตม์        คงอุป
8
10951
นายวาณิช            จงเทพ
9
10953
นายศุภชัย           ปักษาสังข์
10
10955
นายสิทธิพล       รัตนี
11
10956
นายสุวรรณชัย   ภักดีสุวรรณ์
12
10957
นายโสภรัฐ        ราชคงแก้ว
13
10961
นางสาวกรกนก      สุวรรณน้อย
14
10962
นางสาวกฤติภากร  หนูภัยยันต์
15
10963
นางสาวกวินธิดา    จิตต์เพ็ง
16
10964
นางสาวกุสุมา        จริตงาม
17
10965
นางสาวจิตตินี        สุขอนันต์
18
10966
นางสาวชลิตา         พลเมือง
19
10967
นางสาวณัฐริยา       ทองเกิด
20
10968
นางสาวดาวฤทัย     ปรางนาคี
21
10969
นางสาววรางคณา   จันทร์อุดม
22
10970
นางสาววราลักษณ์   รักศีล
23
10971
นางสาวศิริรัตน์       รัตนบุรี
24
10972
นางสาวสาวีณี         วิทูรชัย
25
10973
นางสาวสุรสุดา        สุขสุวรรณ
26
10974
นางสาวสุรัชวดี       เกิดกุญชร
27
10975
นางสาวอรัญญา       แก้วไทย
28
11121
นายทราย           ชูบัว
29
11443
นายกิตติศักดิ์      ประเสริฐ
30
11747
นายนฤมิตร        ไชยสิทธิ์


รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/7
1
11045
นายกิตติศักดิ์              หมวดเมือง
2
11046
นายจตุภัทร                 บัวบาน
3
11047
นายจารุกิตติ์                จริตงาม
4
11048
นายชยานนท์               ศิริศิลป์
5
11049
นายณัฐธวัช                 พงษ์จีน
6
11050
นายณัฐพงศ์                แก้วสนั่น
7
11051
นายตะวัน                  สบายดี
8
11052
นายธนากร                ศรีสุขใส
9
11054
นายวีระยุทธ              วุฒิวงศ์
10
11055
นายปุณยวีร์               ต๋าแสง
11
11056
นายพงศ์ศักดิ์             เกิดเกลี้ยง
12
11057
นายพชร                   อันจิตรแจ่ม
13
11058
นายภูวนนท์              แก้วสุข
14
11059
นายรัชชานนท์          ทรงแก้ว
15
11061
นายวัชระ                  มะลิแก้ว
16
11062
นายวีรพงศ์               สุขเกษม
17
11063
นายอลงกต               ช่วยเกิด
18
11064
นางสาวกัลยารัตน์    รินรส
19
11065
นางสาวกิ่งดาว         ทองรัตน์ทอง
20
11066
นางสาวเกศินี          หอมละเอียด
21
11067
นางสาวทัศนีย์         งามสันเทียะ
22
11068
นางสาวธัญญลักษณ์  ช่องลมกรด
23
11069
นางสาวนุสรา          อำลอย
24
11070
นางสาวปราลี          คงไสย
25
11071
นางสาวผ่องศรี       ผ่องฉาย
26
11072
นางสาวพัชรีพร      บุญเชิด
27
11074
นางสาวศิริลักษณ์   มัคสิงห์
28
11076
นางสาวอภิญญา     รัตนมณี
29
11077
นางสาวอุบลรัตน์   ภักดี
30
10943
นายปรมัช       เงินทอง
31
11435
นายธนวัฒน์       ไชยศร
32
11436
นายทราวุธ      แก้ววิชิต
33
11441
นายรณธชัย       ศรีปาน










รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การพัฒนาการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/7 
โดยใช้วิธีการฝึกการเขียน








นางสาวสุนันทา  ศรีทอง









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12


ชื่อเรื่อง  การพัฒนาการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/7  โดยใช้วิธีการฝึกการเขียน
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวสุนันทา  ศรีทอง
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้มอบหมายให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/7  ทำแบบฝึกหัดส่ง  พบว่าลายมือ  การเขียน  การสะกดคำของนักเรียนไม่ถูกต้อง  ลายมืออ่านยาก  ไม่เป็นตัว  ทำให้การตรวจงานเป็นไปได้ยากและต้องใช้เวลาในการตรวจเป็นอย่างมาก  ซึ่งปัญหาดังกล่าวทำให้นักเรียนอ่านสมุดของตนเองไม่ออกส่งผลต่อคะแนนการสอบรายจุดประสงค์  ข้าพเจ้าได้คิดหาวิธีการช่วยให้นักเรียนพัฒนาการเขียนของตนเอง  โดยวิธีการให้นักเรียนฝึกหัดคัดลายมือของตนเองในตนสัปดาห์แรก  เพื่อจะช่วยให้นักเรียนมีลายมือที่ดีขึ้น
วัตถุประสงค์
        เพื่อพัฒนาวิธีการเขียนของนักเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/7  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนมีลายมือที่ดีขึ้นกว่าเดิม

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/7  ภาคเรียนที่  ปีการศึกษา  2555  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  อำเภอทุ่งสง  จังหวัดนครศรีธรรมราช  จำนวน  33  คน
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             แบบบันทึกคะแนน
2.             สมุดแบบฝึกหัด(แบบคัดลายมือ)
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม  โดยให้นักเรียนที่มีลายมือที่พออ่านได้เป็นพี่เลี้ยง
2.             ก่อนเรียนของแต่ละภาคเรียนในสัปดาห์แรกให้ผู้เรียน ฝึกการคัดเขียน จากกระดาษ ที่ครูเตรียมการไว้ ฝึกปฏิบัติ
3.             นำผลงานที่สำเร็จมาตรวจสอบ
ผลการวิจัย
1.             นักเรียนโดยภาพรวมเขียนหนังสือสวยขึ้น
การสังเกตการเขียนโครงงาน เขียนได้ถูกหลักการเขียน สวยงาม
ข้อเสนอแนะ
ควรนำไปประยุกต์ใช้พัฒนาการเรียนการสอนกับทุกวิชา

รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/7

1
11045
นายกิตติศักดิ์              หมวดเมือง
2
11046
นายจตุภัทร                 บัวบาน
3
11047
นายจารุกิตติ์                จริตงาม
4
11048
นายชยานนท์               ศิริศิลป์
5
11049
นายณัฐธวัช                 พงษ์จีน
6
11050
นายณัฐพงศ์                แก้วสนั่น
7
11051
นายตะวัน                  สบายดี
8
11052
นายธนากร                ศรีสุขใส
9
11054
นายวีระยุทธ              วุฒิวงศ์
10
11055
นายปุณยวีร์               ต๋าแสง
11
11056
นายพงศ์ศักดิ์             เกิดเกลี้ยง
12
11057
นายพชร                   อันจิตรแจ่ม
13
11058
นายภูวนนท์              แก้วสุข
14
11059
นายรัชชานนท์          ทรงแก้ว
15
11061
นายวัชระ                  มะลิแก้ว
16
11062
นายวีรพงศ์               สุขเกษม
17
11063
นายอลงกต               ช่วยเกิด
18
11064
นางสาวกัลยารัตน์    รินรส
19
11065
นางสาวกิ่งดาว         ทองรัตน์ทอง
20
11066
นางสาวเกศินี          หอมละเอียด
21
11067
นางสาวทัศนีย์         งามสันเทียะ
22
11068
นางสาวธัญญลักษณ์  ช่องลมกรด
23
11069
นางสาวนุสรา          อำลอย
24
11070
นางสาวปราลี          คงไสย
25
11071
นางสาวผ่องศรี       ผ่องฉาย
26
11072
นางสาวพัชรีพร      บุญเชิด
27
11074
นางสาวศิริลักษณ์   มัคสิงห์
28
11076
นางสาวอภิญญา     รัตนมณี
29
11077
นางสาวอุบลรัตน์   ภักดี
30
10943
นายปรมัช       เงินทอง
31
11435
นายธนวัฒน์       ไชยศร
32
11436
นายทราวุธ      แก้ววิชิต
33
11441
นายรณธชัย       ศรีปาน









รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การปรับพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  , 3/4  , 3/7
ที่ชอบนั่งวาดรูปในเวลาเรียน  โดยวิธีการให้นักเรียนทำชิ้นงานพร้อมตกแต่ง








นางสาวสุนันทา  ศรีทอง









โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12


ชื่อเรื่อง  การปรับพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  , 3/4  , 3/7 ที่ชอบนั่งวาดรูปในเวลาเรียน 
                โดยวิธีการให้นักเรียนทำชิ้นงานพร้อมตกแต่ง
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวสุนันทา  ศรีทอง
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้สอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  , 3/4  , 3/7 หลังจากเรียนมาได้ประมาณ  สัปดาห์  พบว่าในขณะที่กำลังสอนพบนักเรียนกำลังนั่งวาดรูปเล่นในเศษกระดาษ  ทำให้ตามเนื้อหาที่กำลังสอนไม่ทัน  ไม่เข้าใจในเนื้อหาที่สอน  ข้าพเจ้าได้คิดหาวิธีการปรับพฤติกรรมของนักเรียนโดยวิธีการให้นักเรียนทำชิ้นงานส่งพร้อมทั้งให้นักเรียนตกแต่งให้สวยงามเก็บเป็นคะแนนรายจุดประสงค์  ด้วยวิธีการนี้ทำให้นักเรียนสนใจในการเรียนมากขึ้น  เข้าใจในเนื้อหามากขึ้น
วัตถุประสงค์
        เพื่อปรับพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  , 3/4  , 3/7 โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนมีผลการเรียนที่ดีขึ้นกว่าเดิม

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  , 3/4  , 3/7   ภาคเรียนที่ 
ปีการศึกษา  2555  โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  อำเภอทุ่งสง  จังหวัดนครศรีธรรมราช  จำนวน  102  คน
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             แบบบันทึกคะแนน
2.             ชิ้นงาน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             มอบหมายชิ้นงานให้นักเรียน  พร้อมกับให้นักเรียนตกแต่งให้สวยงาม
2.             ตรวจสอบความถูกต้องของชื้นงาน  ความสวยงาม
3.             นำผลงานที่ตรวจสอบเสร็จแล้วมาเก็บคะแนน
ผลการวิจัย
1.             นักเรียนโดยภาพรวมตกแต่งชื้นงานสวยงามและไม่วาดรูปในเวลาเรียน
ข้อเสนอแนะ
การจัดการเรียนการสอนควรแก้ปัญหา  พัฒนาทุกเรื่อง จึงจะได้ชื่อว่า เป็นครูนักวิจัย


รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2
1
10871
นายกิตติศักดิ์       ไทยยัง
2
10872
นายเกียรติศักดิ์     ศรีระษา
3
10873
นายฉัตรชัย          แก้วลำหัด
4
10874
นายชินวิทย์         จันทร์ชุม
5
10875
นายธีระยุทธ        ช่วยเกิด
6
10876
นายภูริณัฐ           ปานทอง
7
10877
นายวัชรินทร์       สิทธิศักดิ์
8
10879
นายวุฒิชัย             ดวงแก้ว
9
10880
นายเอกภาพ         เผ่นภูเขียว
10
10881
นายเอกรัตน์        วิชัยดิษฐ์
11
10882
นางสาวกนกวรรณ     เกลี้ยงมณี
12
10883
นางสาวกัญญาณัฐ       หนูในนา
13
10884
นางสาวกาญจนทิพย์    หนูภัยยันต์
14
10885
นางสาวกิตติภาภรณ์    หนูภัยยันต์
15
10886
นางสาวจุฬารัตน์         จงรักษ์
16
10887
นางสาวชไมพร          ดำนุ่น
17
10888
นางสาวชลพินท์         นงนวล
18
10889
นางสาวชุติเนตร        แก้วรัตน์
19
10890
นางสาวณัฐวดี           พรหมสุทธิ์
20
10891
นางสาวดารารัตน์      ยกชม
21
10892
นางสาวนวรัตน์         วงศ์สุวรรณ
22
10893
นางสาวนันทิการ       ก๋าวิเต
23
10894
นางสาวพรทิพย์         ยืนยัน
24
10895
นางสาวพัชราพร        สุขอนันต์
25
10896
นางสาวรุ่งอรุณ          หอมหวน
26
10897
นางสาววนิดา             คำสงค์ 
27
10898
นางสาวศศิธร            สุริยันต์
28
10899
นางสาวสุณิสา           ชูกรณ์
29
10900
นางสาวสุดารัตน์        ธงทอง
30
10901
นางสาวสุนทรี           รัตนคช
31
10902
นางสาวสุวรรณี         สุขอนันต์
32
10903
นางสาวอรอุมา          ณ สุวรรณ
33
10904
นางสาวอัญญาวรรธน์   จันทน์เทศ
34
10905
นางสาวอุษณีย์           ซุ่นแซ่ล้อ
รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/4
1
10942
นายกิตติวัฒน์       รักช้าง
2
10944
นายณัฐพงศ์         ร่มเย็น
3
10945
นายทวีศักดิ์         ชุมเหียน
4
10946
นายธีรวัฒน์         สุวรรณพันธ์
5
10948
นายปิยะวุฒิ         เจริญวงศ์
6
10949
นายพชรพงษ์       ทองสีนุช
7
10950
นายพิชญุตม์        คงอุป
8
10951
นายวาณิช            จงเทพ
9
10953
นายศุภชัย           ปักษาสังข์
10
10955
นายสิทธิพล       รัตนี
11
10956
นายสุวรรณชัย   ภักดีสุวรรณ์
12
10957
นายโสภรัฐ        ราชคงแก้ว
13
10961
นางสาวกรกนก      สุวรรณน้อย
14
10962
นางสาวกฤติภากร  หนูภัยยันต์
15
10963
นางสาวกวินธิดา    จิตต์เพ็ง
16
10964
นางสาวกุสุมา        จริตงาม
17
10965
นางสาวจิตตินี        สุขอนันต์
18
10966
นางสาวชลิตา         พลเมือง
19
10967
นางสาวณัฐริยา       ทองเกิด
20
10968
นางสาวดาวฤทัย     ปรางนาคี
21
10969
นางสาววรางคณา   จันทร์อุดม
22
10970
นางสาววราลักษณ์   รักศีล
23
10971
นางสาวศิริรัตน์       รัตนบุรี
24
10972
นางสาวสาวีณี         วิทูรชัย
25
10973
นางสาวสุรสุดา        สุขสุวรรณ
26
10974
นางสาวสุรัชวดี       เกิดกุญชร
27
10975
นางสาวอรัญญา       แก้วไทย
28
11121
นายทราย           ชูบัว
29
11443
นายกิตติศักดิ์      ประเสริฐ
30
11747
นายนฤมิตร        ไชยสิทธิ์


รายชื่อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/7
1
11045
นายกิตติศักดิ์              หมวดเมือง
2
11046
นายจตุภัทร                 บัวบาน
3
11047
นายจารุกิตติ์                จริตงาม
4
11048
นายชยานนท์               ศิริศิลป์
5
11049
นายณัฐธวัช                 พงษ์จีน
6
11050
นายณัฐพงศ์                แก้วสนั่น
7
11051
นายตะวัน                  สบายดี
8
11052
นายธนากร                ศรีสุขใส
9
11054
นายวีระยุทธ              วุฒิวงศ์
10
11055
นายปุณยวีร์               ต๋าแสง
11
11056
นายพงศ์ศักดิ์             เกิดเกลี้ยง
12
11057
นายพชร                   อันจิตรแจ่ม
13
11058
นายภูวนนท์              แก้วสุข
14
11059
นายรัชชานนท์          ทรงแก้ว
15
11061
นายวัชระ                  มะลิแก้ว
16
11062
นายวีรพงศ์               สุขเกษม
17
11063
นายอลงกต               ช่วยเกิด
18
11064
นางสาวกัลยารัตน์    รินรส
19
11065
นางสาวกิ่งดาว         ทองรัตน์ทอง
20
11066
นางสาวเกศินี          หอมละเอียด
21
11067
นางสาวทัศนีย์         งามสันเทียะ
22
11068
นางสาวธัญญลักษณ์  ช่องลมกรด
23
11069
นางสาวนุสรา          อำลอย
24
11070
นางสาวปราลี          คงไสย
25
11071
นางสาวผ่องศรี       ผ่องฉาย
26
11072
นางสาวพัชรีพร      บุญเชิด
27
11074
นางสาวศิริลักษณ์   มัคสิงห์
28
11076
นางสาวอภิญญา     รัตนมณี
29
11077
นางสาวอุบลรัตน์   ภักดี
30
10943
นายปรมัช       เงินทอง
31
11435
นายธนวัฒน์       ไชยศร
32
11436
นายทราวุธ      แก้ววิชิต
33
11441
นายรณธชัย       ศรีปาน










รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง
การปรับพฤติกรรมของนางสาววนิดา  คำสงค์ 
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2   โดยวิธีการช่วยเหลือตนเอง







นางสาวสุนันทา  ศรีทอง










โรงเรียนทุ่งสงวิทยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  12


ชื่อเรื่อง  การปรับพฤติกรรมของนางสาววนิดา  คำสงค์  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2   โดยวิธีการ
                ช่วยเหลือตนเอง
ชื่อผู้วิจัย                  นางสาวสุนันทา  ศรีทอง
ความเป็นมาของการวิจัย
            จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้สอนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน  (ค23101)  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2   ในหน่วยการเรียนรู้ที่  เรื่องกราฟ  เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้แล้วได้ประเมินนักเรียนโดยการทดสอบย่อย  20  คะแนน  นักเรียนประมาณ  15  คนไม่ผ่านการประเมิน  12  คะแนน  จึงได้ให้นักเรียนได้ทำงานเพื่อเป็นการแก้ตัวของนักเรียน  แต่หนึ่งในนั้นได้แก่  นางสาววนิดา  คำสงค์  ให้เพื่อนทำงานการสอบแก้ตัวมาส่งครูแทน  จึงได้เรียกนางสาววนิดา  คำสงค์  มาพบเพื่อสอบถามข้อเท็จจริง  แต่นางสาววนิดา      คำสงค์  ไม่ยอมรับความจริง  จึงทำโทษโดยการให้ทำงานการสอบแก้ตัวใหม่และให้ทำต่อหน้าครู  และอธิบายในข้อที่ยังไม่เข้าใจ 
วัตถุประสงค์
        เพื่อให้นางสาววนิดา  คำสงค์  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2  พัฒนาความคิด  รุ้จักวางแผนและรู้จักการทำงานด้วยตนเอง 

วิธีการดำเนินวิจัย
                กลุ่มเป้าหมาย
                                กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย  คือ  นางสาววนิดา  คำสงค์  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/2   โรงเรียนทุ่งสงวิทยา  อำเภอทุ่งสง  จังหวัดนครศรีธรรมราช 
                เครื่องมือในการวิจัย
1.             การทำงานการสอบแก้ตัว
2.             แบบบันทึกคะแนน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.             ให้นักเรียนมาพบในตอนเที่ยงของทุกวัน  เป็นเวลา  วัน
2.             ครูผู้สอนชี้แจงขั้นตอนการทำงานแก้ตัวส่งครู
3.             ครูสังเกตการณ์การทำงานของนักเรียน  การแก้ปัญหา  ความตั้งใจ  และความรับผิดชอบของนักเรียน
4.             สังเกตการทำแบบฝึกหักว่าดีขึ้นหรือไม่
5.             สังเกตการประเมินตามสภาพจริง

ผลการวิจัย
ผลจากการเรียนการให้นางสาววนิดา  คำสงค์  มาพบในตอนเที่ยงและให้นักเรียนได้ทำงานด้วยตัวของนักเรียนเองทำให้นักเรียนมีการพัฒนาที่ดีขึ้น  รู้จักการทำงานด้วยตนเอง  การวางแผน  การค้นคว้าด้วยตนเอง
ข้อเสนอแนะ
                ในบางครั้งนักเรียนขาดความมั่นใจในตนเอง  เรียนอ่อน  การทำงานยังขาดความประณีต  ครูควรให้กำลังใจ  และเสนอแนะวิธีการพัฒนาตนเอง  ไม่ควรเปรียบเทียบผลงานกับคนที่ทำงาน  ละเอียด  ประณีต  อาจทำให้เด็กท้อแท้ได้  ควรประเมินผลตามสภาพจริง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น